คำถามหลัก (Big Question) ร่างกายของคนเรามีความสำคัญอย่างไรบ้าง ?
ภูมิหลังของปัญหา :
เนื่องจากสภาพแวดล้อม สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งการกิน การอยู่ ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายของคน ซึ่งวัยเด็กเป็นช่วงวัยที่มีความสำคัญต่อพัฒนาการด้านร่างกาย แต่ปัจจุบันเด็กๆ ขาดการเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติด้วยตนเองทำให้ไม่สามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองได้ เช่น การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ มีภูมิต้านทานโรคต่ำ ไม่แข็งแรง มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช้า ซึ่งส่งผลต่อชีวิตของเด็ก เด็กควรได้รับสารอาหารที่พียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ได้รับอาหารที่สะอาด ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการครบ 5 หมู่ และส่งผลต่อพัฒนาการด้านอารมณ์ เช่นเดียวกันเด็กจะแสดงออกด้านอารมณ์ออกมาเต็มที่ ได้แก่ กระโดด กอด ตบมือ โวยวาย ร้องให้เสียงดัง ทบตี ขว้างปาสิ่งของ ไม่พอใจเมื่อถูกห้าม ฯลฯ เพียงชั่วครู่ก็หายไป อารมณ์ที่เกิดขึ้นกับเด็กซึ่งก่อให้เกิดปัญหาและพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์
ปฏิทินการเรียนรู้
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : “ ตัวเรา
”
ระดับชั้นอนุบาล 2 (Quarter 1) ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2559
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
16 – 20
พ.ค.
59
|
โจทย์ :
-
สร้างแรงบัลดาลใจ
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้
Key Questions
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร?
ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
Card & Chart : เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Blackboard Share : ชื่อ หน่วย
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อง
“มหัศจรรย์วันของหนู”
|
-
ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งต่างๆรอบบริเวณภายในโรงเรียน
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “มหัศจรรย์วันของหนู” เพื่อสร้างแรงบัลดาลใจอยากเรียนรู้เรื่อง
“ตัวเรา”
- ทบทวนวิถี
- ทบทวนการบ้าน
|
ภาระงาน
-
พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้และตั้งชื่อหน่วย
ชิ้นงาน
- Card & Chart
วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- วาดภาพสิ่งที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆบริเวณโรงเรียน
|
ความรู้
สามารถแสดงความคิดเห็น
และอธิบายสิ่งที่ตนเองสนใจและอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิง
เพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองและเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
-
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
2
23 – 27
พ.ค.
59
|
โจทย์
:
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน
หน่วย “ ร่างกาย ”
Key Question
นักเรียนรู้อะไรและอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับตัวเรา?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเรา
Think Pair Share : สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard
Share : สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน เรื่อง
“ตัวเรา “
- เพลง
“ร่างกายของเรา”
- เกม ต่อจิ๊กซอร์รูปคน
|
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “ตัวเรา”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันเล่นเกม ต่อจิ๊กซอร์รูปคน
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ร่างกายของเรา”
- นักเรียนเลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันตั้งชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
- ครูเขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้บนกระดาน
|
ภาระงาน
-
พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเรา
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ได้ฟัง
ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปคน ผู้หญิง ผู้ชาย
-
วาดภาพตัวละครที่ชอบในนิทาน
|
ความรู้
สามารถแสดงความคิดเห็น
และอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และต้องการรู้เกี่ยวกับตัวเรา โดยให้เหตุผลอ้างอิง
เพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
-
33
30 พ.ค.
- 3 มิ.ย.
59
|
โจทย์ :
วงจรชีวิต
การเจริญเติบโตของคน
Key Questions
เราเกิดมาได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ วงจรชีวิต การเจริญเติบโต
Wall Thinking
: ใบงาน เขียนคำศัพท์การเจริญเติบโตของคน
Show and Share :
นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
-
นิทาน
- คลิปวีดีโอ
- ภาพโปสเตอร์
|
-
นักเรียนดูคลิปวีดีโอเกี่ยวกับการเกิด แก่ เจ็บ ตายของคน
-
ครูนำภาพโปสเตอร์ความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย มาให้นักเรียนดู
-
นักเรียนแสดงบทบาทสมมติคนในวัยต่างๆ ให้เพื่อนทาย
- นักเรียนประดิษฐ์ตุ๊กตา “ค คนตัวเล็ก”
-
นักเรียนปั้นดินน้ำมันรูปผู้หญิงและผู้ชาย
-
นักเรียนเขียนคำศัพท์พร้อมระบายสีการเจริญเติบโตของคน
- Show and Share ตุ๊กตา “ค คนตัวเล็ก”
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดงบทบาทสมมติ
- ครูนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวงจรชีวิต /
การเจริญเติบโต / เพศ / การสืบพันธุ์ของคน
ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์ตุ๊กตา “ค คนตัวเล็ก”
-
ปั้นดินน้ำมันรูปผู้หญิงและผู้ชาย
-
เขียนคำศัพท์พร้อมระบายสีการเจริญเติบโตของคน
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจการเกิด
แก่ เจ็บ ตายเป็นเรื่องธรรมดาและสามารถยอมรับกับเหตุการณ์ต่างที่เกิดขึ้นได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
4
6 – 10
มิ.ย.
59
|
โจทย์
:
วงจรชีวิต
การเจริญเติบโตของ
พืช และ สัตว์
Key Questions
พืช
และสัตว์เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวงจรชีวิต
/ การเจริญเติบโตของพืชและสัตว์
Wall Thinking :
ใบงานโยงเส้นการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
Show and Share : การเพาะถั่วเขียว
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
นิทานเรื่อง “การเติบโต”
- เพลง “ไก่ กุ๊ก กุ๊ก ไก่”
-
สื่อจริงต้นถั่วเขียว
- บริเวณรอบๆ โรงเรียน
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “การเติบโต” เพื่อให้นักเรียนรู้การเกิดของพืชมากขึ้น
-
ครูและนักเรียนร้องเพลง “ไก่ กุ๊ก กุ๊ก ไก่”
หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อเพลง
-
ครูและนักเรียนเดินสำรวจพืชและสัตว์บริเวณรอบๆ โรงเรียน
-
ครูและนักเรียนท่องคำคล้องจอง “ต้นไม้มีชีวิต”
-
นักเรียนเพาะถั่วเขียว
- นักเรียนประดิษฐ์ตุ๊กตารูปสัตว์
- ปั่นดินน้ำมันรูปสัตว์
- ปะติดรูปสัตว์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสำรวจพืชและสัตว์บริเวณรอบๆ โรงเรียน
- แสดงความคิดเห็นการเพาะปลูกถั่วเขียว
ชิ้นงาน
- ใบงานโยงเส้นการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
- นักเรียนประดิษฐ์ตุ๊กตารูปสัตว์
- ปั่นดินน้ำมันรูปสัตว์
- ปะติดรูปสัตว์
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจการเกิด
การเจริญเติบโตของพืชและสัตว์ ตลอดจนเห็นคุณค่าของสิ่งมีชีวิตอื่น (วงจรชีวิต /
การเจริญเติบโต)
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
5
13 – 17
มิ.ย.
59
|
โจทย์
:
โครงสร้าง อวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายโครงสร้างของคน,
สัตว์ และพืช
Key Questions
ทำไมคนต้องมีขาสองข้าง ถ้ามีข้างเดียวจะเป็นอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของคน, สัตว์ และพืช / หน้าที่ของอวัยวะต่างๆ
ภายในร่างกาย
Wall Thinking :
- ปะ ติดรูปพืชจากวัสดุเหลือใช้
- เขียน Web โครงสร้างตัวเอง
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ผัก ผลไม้
- นิทาน
- คำคล้องจอง “Bodyร่างกาย”
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ปาก”
- นักเรียนท่องคำคล้องจอง“Body ร่างกาย”
- ครูทายปริศนาคำทายเกี่ยวกับอวัยวะต่างๆ
- ครูนำผัก ผลไม้ต่างๆ
(ถั่วฝักยาว ชมพู่ พริก กล้วย ฯลฯ)มาให้นักเรียนสังเกต
-
นักเรียนแยกประเภทของอวัยวะต่างตามความเข้าใจของตนเอง
-
นักเรียนสังเกตโครงสร้างของสัตว์ และพืช
- สำรวจอวัยวะภายในร่างกาย
นักเรียนปะ
ติดรูปพืชจากรูปทรงที่กำหนด
-
นักเรียนปั้นดินน้ำมันรู้โครงสร้างของสัตว์หรือคน
- นักเรียนเขียน Web โครงสร้างของคนหรือสัตว์
- สังเกตโครงสร้างจริง คน, พืช , สัตว์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมปริศนาคำทาย
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแยกประเภทของอวัยวะต่างตามความเข้าใจของตนเอง
- ครูนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับนักเรียนสังเกตโครงสร้างของสัตว์
และพืช
ชิ้นงาน
- ปะ ติดรูปพืชจากรูปทรงที่กำหนด
-
ปั้นดินน้ำมันรูปโครงสร้างของคนหรือสัตว์
- เขียน Web โครงสร้างตัวเอง
|
ความรู้
“
นักเรียนเข้าใจโครงสร้างของคน บอกลักษณะ หน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ
ภายในร่างกายได้”
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
6
20 – 24
มิ.ย.
59
|
โจทย์ :
อวัยวะในร่างกาย
/หน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ ภายในร่างกาย
Key Questions
ร่างกายของเราประกอบด้วยอวัยวะส่วนใดบ้าง?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับอวัยวะในร่างกายของคน
พร้อมอธิบายหน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ ภายในร่างกาย
Wall Thinking : ใบงานเขียนอวัยวะในร่างกายของฉัน
Show and Share : นำเสนอปั้นดินน้ำมันเป็นรูปตัวเรา
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เพลง “นิ้วมือของฉัน”
- นิทานเรื่อง “ร่างกายของฉัน”
- รูปภาพเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิง
|
รูเล่านิทานเรื่อง
“ร่างกายของฉัน”
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“นิ้วมือของฉัน”
-
นักเรียนเขียน web อวัยวะในร่างกายของฉัน
-
ครูขออาสาสมัครผู้ชายและผู้หญิงมาให้นักเรียนสังเกตความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย
- นักเรียนปั้นดินน้ำมันเป็นรูปตัวเรา
Show
and Share ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปตัวเรา
- ทดลองปิตตา ใช้แขนมือข้างเดียวหรือส่วนอื่นๆ
ทำกิจวัตรประจำวัน
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอวัยวะในร่างกายของคน
พร้อมอธิบายหน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ ภายในร่างกาย
-
พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของต้นถั่ว
- ถาม-ตอบ
เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน
- เขียนอวัยวะในร่างกายของฉัน
- ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปตัวเรา
- web อวัยวะในร่างกายของฉัน
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจ
สามารถอธิบายเกี่ยวกับอวัยวะในร่างกายของคน พร้อมอธิบายหน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ
ภายในร่างกายได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
7
27 มิ.ย.
- 1 ก.ค.
59
|
โจทย์ :
ดูแลรักษาอวัยวะส่วนต่างๆ
ของร่างกาย เชื่อมโยงสู่การทำความสะอาดของเล่น ของใช้
เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
Key Questions
ทำอย่างไรร่างกายของนักเรียนถึงจะแข็งแรง?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกายให้แข็งแรง
และปลอดภัย
Show and Share:
สิ่งประดิษฐ์หน้ากากรูปคน
Wall Thinking:
- แว่นตาหรรษา - ต่อเติมภาพ ระบายสีและตัดตามรูปภาพ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- นิทาน
- เพลง
- ภาพโปสเตอร์
- แบบจำลองฟัน
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “ ปลอดภัยไว้ก่อน ”
-
สังเกตภาพโปสเตอร์การทำความสะอาดอวัยวะส่วนต่างๆ เช่น มือ ฟัน ร่างกาย
- อาบน้ำสระผม
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “อันตรายจากการเล่น และการกิน”
- ครูและนักเรียนร้องเพลง “แปรงสิแปรงฟัน”
- ครูให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาสาธิตการแปรงฟัน
ล้างมือให้เพื่อนๆ สังเกต
- นักเรียนประดิษฐ์หน้ากากรูปคน
-
นักเรียนปั้นดินน้ำมันรูปการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกาย
-
นักเรียนต่อเติมภาพระบายสีและตัดตามรูปภาพ
- Show and
Share หน้ากากคน
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดูคลิปวีดีโอ “อันตรายจากการเล่น และการกิน”
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสาธิตการแปรงฟัน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสังเกตภาพโปสเตอร์การทำความสะอาดอวัยวะส่วนต่างๆ เช่น มือ
ฟัน ร่างกาย
ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์หน้ากากรูปคน
-
ปั้นดินน้ำมันรูปการเล่นกีฬาหรือการออกกำลังกาย
-
ต่อเติมภาพระบายสีและตัดตามรูปภาพ
|
ความรู้
“
นักเรียนสามารถดูแลรักษาอวัยวะส่วนต่างๆ
ของร่างกายได้อย่างเหมาะสม
ตลอดจนสามารถดูแลรักษาตัวเองให้ปลอดภัยจากการทำกิจวัตรหรือการเล่นได้”
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
8
4 – 8
ก.ค.
59
|
โจทย์ :
บทบาท
หน้าที่ของตัวเองและผู้อื่น
Key Questions
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าทุกคนในโลกนี้ทำหน้าที่เดี่ยวกัน?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น
Wall Thinking:
หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น ...?
Show and Share:
สิ่งประดิษฐ์หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น
...?
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “คุณแม่นักซักผ้า”
- เพลง “เด็กดี”
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “คุณแม่นักซักผ้า”
-
ครูและนักเรียนร้องเพลง “เด็กดี”
-
นักเรียนสังเกตการณ์ทำงานของบุคคลต่างๆ
ภายในโรงเรียน
- นักเรียนประดิษฐ์หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น...?
-
นักเรียนปั้นดินน้ำมันรูปกิจกรรมที่หนูชอบทำกับแม่
-
นักเรียนบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
- แสดงบทบาทสมมติ เป็นคุณแม่ , คุณพ่อ,คุณป้า , คุณลุง
- นักเรียนเขียน Mind
Mapping เรามาโรงเรียนทำไม
- Show and
Share หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น ....?
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสังเกตการณ์ทำงานของบุคคลต่างๆ
ภายในโรงเรียน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตัวเองและผู้อื่น
ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์หุ่นมือโตขึ้นหนูอยากเป็น...?
-
ปั้นดินน้ำมันรูปกิจกรรมที่หนูชอบทำกับแม่
-
บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
- เขียน Mind
Mapping เรามาโรงเรียนทำไม
|
ความรู้
“ นักเรียนเข้าใจบทบาท หน้าที่ของตัวเองและผู้อื่น
เห็นคุณค่าและยอมรับในความแตกต่างของแต่ละคน ”
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
9
11 – 15
ก.ค.
59
|
โจทย์ :
การปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น
เช่น
พ่อ แม่ เพื่อน ครู ฯลฯ
Key Questions
ทำไมเราต้องสวัสดีทักทายกัน?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น
เช่น พ่อ แม่, ครู, เพื่อน / การปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ เช่น
บ้าน โรงเรียน
Wall Thinking :
วาดภาพระบายสีเล่นด้วยกันกับเพื่อน
Show and Share :
ปั่นดินน้ำมันเล่นกับเพื่อน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
นิทานเรื่อง
“ตั๊กแตนผู้ซื่อสัตย์”
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “ตั๊กแตนผู้ซื่อสัตย์”
-
ครูทายปริศนาคำทายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ
-
ครูและนักเรียนเล่นเกม แบ่งปั่นสิ่งของ
- นักเรียนประกอบอาหารแบ่งปั่น
-
วาดภาพระบายสีสถานที่ต่างๆ
- ปั้นดินน้ำมันรูป “เล่นด้วยกันกับเพื่อน”
- Show and
Share ปั้นดินน้ำมันรูป “เล่นด้วยกันกับเพื่อน”
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปริศนาคำทายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นเกม แบ่งปั่นสิ่งของ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหาร
ชิ้นงาน
- วาดภาพระบายสีสถานที่ต่างๆ
- ปั้นดินน้ำมันรูป “เล่นด้วยกันกับเพื่อน”
|
ความรู้
“
นักเรียนสามารถปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น เช่น พ่อ แม่ เพื่อน ครู ฯลฯ และตามสถานที่ต่างๆ
เช่น บ้าน โรงเรียนได้อย่างเหมาะสม ”
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
10
18 – 22
ก.ค.
59
|
โจทย์
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตอื่น
Key Questions
คนมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่นอย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิตอื่น
Wall Thinking :
- วาดภาพระบายสีความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตอื่น
- Flow Chart การประกอบอาหาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- นิทาน
-
วัตถุดิบในการประกอบอาหาร
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง “สามัคคีไม่มีทะเลาะ”
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “ธรรมชาติรอบตัวเรา”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันเสนอเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและมีส่วนประกอบจากสัตว์และพืช
-
ครูและนักเรียนร่วมกันเสนอเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและมีส่วนประกอบจากสัตว์และพืช
- ครูและนักเรียนประกอบอาหาร
- นักเรียนเขียน Flow Chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร
- นักเรียนปั้นดินน้ำมันรูปตัวเองและสัตว์เลี้ยงที่ชื่นชอบ
- ปะ ติดรูปภาพจากวัสดุธรรมชาติ
- Show and
Share Flow
Chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร
|
ชิ้นงาน
- เขียน Flow
Chart ขั้นตอนการประกอบอาหาร
- ปั้นดินน้ำมันรูปตัวเองและสัตว์เลี้ยงที่ชื่นชอบ
- ปะ
ติดรูปภาพจากวัสดุธรรมชาติ
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
- ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ
หน่วย “ตัวเรา” ให้ผู้อื่นเข้าใจ
|
ความรู้
“สามารถพูดอธิบายความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิตอื่นๆได้”
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
11
25 – 29
ก.ค.
59
|
โจทย์
สรุปองค์ความรู้
-
นิทรรศการ
- การแสดงละคร
Key Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ หน่วย “ ตัวเรา”
-
นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย “ ตัวเรา”
ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
-
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ หน่วย “ ตัวเรา ”
Wall Thinking :
ใบงานเขียน Mind
Mapping สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
หน่วย “ ตัวเรา”
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
|
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนท่องคำคล้องจอง “Bodyร่างกาย”
- ครูทายปริศนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนมา
-
ครูกระตุ้นด้วยคำถามครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการ/การแสดงสรุปองค์ความรู้
- นักเรียนทุกคนแสดงละคร
นำเสนอ สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วย
“ ตัวเรา” ให้ครูและเพื่อนๆฟัง
|
ชิ้นงาน
- ใบงานเขียน web
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและมีส่วนประกอบจากสัตว์และพืช
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับวงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิต
การเจริญเติบโต การดูแลรักษาร่างกาย การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
และสามารถประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
Topic
“ ตัวเรา ” ระดับชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 1 / 2559 Quarter
1
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
1.สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ
เผชิญกับปัญหา
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
2. ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
3. วงจรชีวิต การเจริญเติบโตของคน
4. วงจรชีวิต การเจริญเติบโตของ
พืช และ สัตว์
5. โครงสร้าง
อวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายโครงสร้างของคน, สัตว์
และพืช
6. อวัยวะในร่างกาย /หน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ
ภายในร่างกาย
7. ดูแลรักษาอวัยวะส่วนต่างๆ
ของร่างกายเชื่อมโยงสู่การทำความสะอาดของเล่น
ของใช้ เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
8. บทบาท
หน้าที่ของตัวเองและผู้อื่น
9. การปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น
เช่น พ่อ แม่
เพื่อน ครู ฯลฯ
10. สรุปองค์ความรู้
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย
ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้,
สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ
เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ,
ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ, เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
ของร่างกาย การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย
สุขนิสัยที่ดี
และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 .ใช้มือได้อย่างคล่องแล้วและประสานสัมพันธ์กัน
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย
ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน
ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Shareผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด
การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความเต็มใจ เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์ เก็บกวาดห้องเรียน
อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
- ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย
ได้แก่ มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
- ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ
การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
พัฒนาการทางด้านอารมณ์
จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1
แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2
มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจและมีความสุขกับศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แสดงออกทางด้านศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม
และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2
ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ประหยัด อดออม และพอเพียง
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู
เพื่อนและผู้อื่น
|
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2
ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3
ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1
ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2
มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8
อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1
ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2
มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3
ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
|
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ
ตัก ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9
ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1
สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่ 10
มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2
มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่ 11
มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 เล่น /
ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง /
เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่ 12
มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2 มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “ ตัวเรา
” กับ 4 สาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- การสะกดคำง่ายๆ เช่น แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด
สี น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน ลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม
ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
- ท่าทาง สีหน้า อารมณ์
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น Sit
down , Stan up เป็นต้น
- ฟัง เข้าใจความหมาย สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name
? My
name is…….. What is this ? It’s
a…….
What do like
? I like ……………
- ร้องเพลง เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น เกี่ยวกับอวัยวะ เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
/ ไม่มีชีวิต ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
- เขียนประโยคตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง
ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ /
นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ตัวเรา
รู้จักชื่อ นามสกุล
รูปร่าง หน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ
วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด
ปลอดภัย
การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียว หรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1. หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง
5
4. หน่วยเนื้อ นม
ไข่
5. หน่วยอาหาร
|
บุคคลและสถานที่
เด็กควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา
ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ
ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิต ประจำวัน
หน่วยสาระ
1.
หน่วยครอบครัว
2.
หน่วยโรงเรียน
3.
หน่วยชุมชน
4.
หน่วยบุคคลสำคัญ
5.
หน่วยเมืองไทย
6.
หน่วยวันสำคัญ เช่น วันพ่อ
วันแม่ วันครู วันเด็ก ฯลฯ
|
ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มี ชีวิต
รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น
ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
ฯลฯ
หน่วยสาระ
1.
หน่วยสัตว์
2.
หน่วยผีเสื้อ
3. หน่วยน้ำ
4.
หน่วยพืช ผัก ผลไม้
5.
หน่วยดอกไม้
6. หน่วยอากาศ
7. หน่วยกลางวัน กลางคืน
8. หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9. หน่วยฤดูกาล
10. หน่วยตาวิเศษ
|
สิ่งต่างๆ รอบตัว
เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด
รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก
ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว
สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิต ประจำวัน
หน่วยสาระ
1.
หน่วยการคมนาคม
2.
หน่วยการสื่อสาร
3. หน่วยพลังงาน
4. หน่วยวิทยาศาสตร์
5. หน่วยคณิตศาสตร์
6.
หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7.
หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8. หน่วยของเล่น ของใช้
|